บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2018

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning)

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Theory of Cooperative or Collaborative Learning )                     เลิศชาย ปานมุข( 2558 ) ได้กล่าวไว้ว่า   แนวคิดของทฤษฏีนี้ คือ   การเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อยโดยมีสมาชิกกลุ่มที่มีความสาางกันในลักษณะแข่งขันกัน   ต่างคนต่างเรียนและร่วมมือกันหรือช่วยกันในการเรียนรู้   นอกจากนั้นแล้วทฤษฎีการเรียนรู้ยังสามารถแบ่งได้ดังต่อไปนี้อีกด้วย คือ ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐาน ทฤษฎีจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม กลุ่มความรู้ ( Cognitive)  ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐานของเทคโนโลยีการศึกษานั้นเป็นทฤษฎีที่ได้จาก 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มพฤติกรรม ( Behaviorism) 2. กลุ่มความรู้ ( Cognitive)  กลุ่มพฤติกรรมนิยม เจ้าของทฤษฎีนี้คือ พอฟลอบ ( Pavlov) ทฤษฎีการวางเงื่อนไข ( Conditioning Theory) กล่าวไว้ว่า ปฏิกริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งของร่างกายของคนไม่ได้มาจากสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว สิ่งเร้านั้นก็อาจจะทำให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้นได้ ถ้าหากมีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้องเหมาะสม กลุ่มความรู้ ( Cognitive) นักจิตวิทยากลุ่มนี้เน้นความสำ

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism)

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism)                     เลิศชาย ปานมุข( 2558) ได้กล่าวไว้ว่าแนวคิดของทฤษฏีนี้ คือ   การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างพลังความรู้ในตนเอง   หากผู้เรียนมีโอกาสได้สร้างความคิดและนำความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม   จะทำให้ความคิดเห็นนั้นเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น                       สยุมพร ศรีมุงคุณ( 2555 ) ได้กล่าวไว้ว่า แนวคิดของทฤษฏีนี้ คือ  การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างพลังความรู้ในตนเอง  หากผู้เรียนมีโอกาสได้สร้างความคิดและนำความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  จะทำให้ความคิดเห็นนั้นเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น    หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ  ครูจะต้องทำหน้าที่อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน  ให้คำปรึกษาชี้แนะแก่ผู้เรียน  เกื้อหนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ  ในการประเมินผลนั้นต้องมีการประเมินทั้งทางด้านผลงานและกระบวนการซึ่งสามารถใช้วิธีการที่หลากหลาย  เช่น  การประเมินตนเอง  การประเมินโดยครูและเพื่อน  การสังเกต  การประเ

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)

 ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)                           เลิศชาย ปานมุข( 2558) ได้กล่าวไว้ว่าทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง เป็นทฤษฏีที่ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์  รวมทั้งโครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อที่ใช้ในการแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่งต่างๆ  เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องจัดกระทำกับข้อมูล  นอกจากกระบวนการเรียนรู้จะเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมองแล้ว  ยังเป็นกระบวนการทางสังคมด้วย  การสร้างความรู้จึงเป็นกระบวนการทั้งด้านสติปัญญาและสังคมควบคู่กันไป                            สยุมพร ศรีมุงคุณ( 2555) ได้กล่าวไว้ว่า ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)    เป็นทฤษฏีที่ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์  รวมทั้งโครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อที่ใช้ในการแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่งต่างๆ  เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องจัดกระทำกับข้อมูล  นอกจากกระบวนการเรียนรู้จะเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมองแล้ว  ยังเป็นกระบวนการทางสังคมด้วย  การสร้างความรู้จึงเป็นกร

ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences)

  ทฤษฎีพหุปัญญา ( Theory of Multiple Intelligences)                     เลิศชาย ปานมุข( 2558) ได้กล่าวไว้ว่า ทฤษฏีนี้มีความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญ   2  ประการ คือ 1.  เชาวน์ปัญญาของบุคคลมิได้มีเพียงความสามารถทางภาษาและทางคณิตศาสตร์เท่านั้น   แต่มีอยู่อย่างหลากหลายถึง 8 ประเภทด้วยกัน   ประกอบด้วย   -    เชาวน์ปัญญาด้านภาษา( Linguistic intelligence) -    เชาวน์ปัญญาด้านคณิตศาสตร์หรือการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ( Logical mathematical intelligence)  -    สติปัญญาด้านมิติสัมพันธ์( Spatial intelligence)  -    เชาวน์ปัญญาด้านดนตรี( Musical intelligence) -    เชาวน์ปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้อ( Bodily kinesthetic intelligence) -    เชาวน์ปัญญาด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น( Interpersonal intelligence) -    เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจตนเอง( Intrapersonal intelligence) -    เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจธรรมชาติ( Naturalist intelligence) เชาวน์ปัญญาของแต่ละคนอาจจะมีมากกว่านี้   คนแต่ละคนจะมีความสามารถเฉพาะด้านที่แตกต่างไปจากคนอื่น   และมีความสามารถในด้านต

ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory)

  ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory)                    สยุมพร ศรีมุงคุณ( 2555) ได้กล่าวไว้ว่า เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์  โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง  ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า  การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์   หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้  คือ  การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น  จัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน  สอนให้ฝึกการจำโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย  หากต้องการให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาสาระใดๆ  ได้เป็นเวลานาน  สาระนั้นจะต้องได้รับการเข้ารหัส(encoding)  เพื่อนำไปเข้าหน่วยความจำระยะยาว  วิธีการเข้ารหัสสามารถทำได้หลายวิธี  เช่น  การท่องจำซ้ำๆ  การทบทวน  หรือการใช้กระบวนการขยายความคิด                  เลิศชาย ปานมุข( 2558) ได้กล่าวไว้ว่า เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์  โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง  ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า  การทำงานของสมองมนุษย์